พุยพุย

วันพุธที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560

► ความรู้ที่ได้รับ

Project Approach " ในหลวง " แบ่งการดำเนินเป็น 3 ระยะ ได้แก่

➤ ระยะที่ 1 ระยะเริ่มต้น ครูและเด็กแลกเปลี่ยนประสบการณ์เดิม ตั้งคำถาม โดยได้คำถามที่น่าสนใจคือ "ข้าวสามารถทำอาหารอะไรได้บ้าง"
➤ ระยะที่ 2 ระยะพัฒนา ครูจัดโครงการขึ้นมา ทำให้เด็กเกิดประสบการณ์ใหม่ โดยเด็กๆและครูได้ร่วมทำ "ไข่พระอาทิตย์" กัน
➤ ระยะที่ 3 ระยะสรุป ครูจัดให้เด็กมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ประเมินผลสะท้อนกลับ
                                      จากการทำไข่พระอาทิตย์ นอกจากเด็กจะได้เรียนรู้วิธีการทำไข่พระอาทิตย์แล้ว ยังใช้หลักการ STEM เข้ามาช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ 

 ➽ Science          (วิทยาศาสตร์) 
 ➽ Technology    (เทคโนโลยี)  
 ➽ Engineering   (วิศวกรรมศาสตร์
 ➽ Mathematics  (คณิตศาสตร์)



สื่อนวัตกรรมการสอน

"สื่อที่ไม่พังคือสื่อที่ไม่มีคุณภาพ" ถ้าสื่อชิ้นใดที่เด็กได้เล่นหรือได้จับบ่อย สภาพก้จะขาดชำรุด แต่ถ้าสื่อดูสวยงามอยู่ คือเด็กไม่จับเล่น ไม่น่าสนใจ



แผนการจัดการเรียนรู้

ในการจัดการเรียนรู้ของรัฐบาลและเอกชนมีความแตกต่างกัน มีวิธีการเขียนแผนการสอนที่แตกต่างกัน แต่เน้นการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กเหมือนกัน ครูจะไม่สอนให้เด็กหัดอ่าน หัดเขียน เพราะเด็กจะไม่ได้พัฒการทักษะ












► การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

          ความรู้ที่ได้รับในวันนี้สามารถนำไปใช้กับการสอนคณิตศาสตร์ในอนาคตได้ พี่ๆได้ให้ความรู้ที่หลากหลายในการที่จะนำไปเสริมประสบการณ์ให้กับเด็กในอนาคต ทั้งวิธีเรียนแบบ Project Approach เรียนรู้สื่อนวัตกรรมที่ไว้เสริมประสบการณ์ให้กับเด็กๆ และการจัดแผนการเรียนรู้






► การประเมินผล

● ประเมินตนเอง
           ไม่ได้ไปเรียนเนื่องจากลาป่วย

● ประเมินเพื่อน
          อ้างอิงจากบล็อค นางสาวณัชชา เศวตทวี 

● ประเมินอาจารย์
          -




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น